วิธีการลงโปรแกรม
Appserv
และ Wordpress
มาเริ่มกันเลยดีกว่า
เราจะจำลองเครื่องคอมพิวเตอร์ของเราเป็น Web Server เพื่อสร้างเว็บ..
CMS ใช้ Wordpress(น่าจะใช้ง่ายที่สุดแล้ว) WAMP ที่ใช้สร้าง web server คือ Appserv
ก่อนอื่นต้องไป Download Wordpress กับ Download Appserv ก่อน
CMS ใช้ Wordpress(น่าจะใช้ง่ายที่สุดแล้ว) WAMP ที่ใช้สร้าง web server คือ Appserv
ก่อนอื่นต้องไป Download Wordpress กับ Download Appserv ก่อน
AppServ
คือโปรแกรมที่รวบรวมเอา Open Source Software หลายๆ
อย่างมารวมกัน
โดยมี Package หลักดังนี้
- Apache
- PHP
- MySQL
- phpMyAdmin
โดยมี Package หลักดังนี้
- Apache
- PHP
- MySQL
- phpMyAdmin
ผู้พัฒนาเป็นคนไทยชื่อ
ภาณุพงศ์
ปัญญาดี (apples)
ขั้นตอนการติดตั้งโปรแกรม Appserv และ WordPress
appserv เวอร์ชั่นล่าสุดที่ใช้กับ
PHP5 คือ appserv 2.5.10 ไฟล์ที่ Download
มาจะเป็นไฟล์ .exe
ให้นักเรียนดับเบิ้ลคลิกที่ไฟล์เพื่อ
Install โปรแกรม แล้วคลิก Next
จากนั้นให้นักเรียน คลิก I
Agree
เลือกโฟลเดอร์ที่จะเก็บโปรแกรม
โดยปกติจะเก็บไว้ที่ไดร์ฟ C: โฟลเดอร์ appserv จากนั้นคลิก
Next
โปรแกรมที่อยู่ใน
Package ที่จะลงเลือกทั้งหมด คลิก Next
พิมพ์
Server Name ตอนนี้เราทำในเครื่องใส่ localhost
พิมพ์ Email ของ Admin (ในที่นี้ไม่ได้ใช้จริง ใส่อะไรก็ได้ให้เป็นไปตามรูปแบบ Email)
Port 80 เป็นค่า Default อยู่แล้ว จากนั้นคลิก Next
พิมพ์ Email ของ Admin (ในที่นี้ไม่ได้ใช้จริง ใส่อะไรก็ได้ให้เป็นไปตามรูปแบบ Email)
Port 80 เป็นค่า Default อยู่แล้ว จากนั้นคลิก Next
พิมพ์
Password ของ root (ตั้งเอง)
และใส่ซ้ำอีกรอบด้านล่าง
Character Sets and Collations เป็น UTF-8-Unicode จากนั้นคลิก Install
Character Sets and Collations เป็น UTF-8-Unicode จากนั้นคลิก Install
รอจนกว่าจะลงโปรแกรมเสร็จ
จากนั้นเมื่อลงโปรแกรมเสร็จ
จะ Start Apache กับ Start MySQL เมื่อคลิก
Finish
ในการใช้งานครั้งต่อๆ
ไปการ Start Apache กับ Start MySQL ทำได้โดยการไปที่
Start > All Programes > AppServ > Control Server by Service
Start > All Programes > AppServ > Control Server by Service
จากนั้นเปิดหน้าต่าง
Browser พิมพ์ Localhost แล้ว Enter
จะเข้ามาหน้าดังภาพ
คลิกที่ลิ้งค์ phpMyAdmin Database Manager Version... เพื่อเข้าไปสร้าง Database
คลิกที่ลิ้งค์ phpMyAdmin Database Manager Version... เพื่อเข้าไปสร้าง Database
เมื่อคลิกตามลิ้งค์ด้านบน
จะให้ใส่ User Name(ใส่ root) และ Password(ที่เราตั้งไว้) แล้วคลิก OK
เมื่อเข้ามาแล้วให้
ไปที่ Create new database
ใส่ชื่อ
Database ที่ต้องการ(แล้วแต่เราจะตั้ง)
เลือก utf8_unicode_ci แล้วคลิก Create
เลือก utf8_unicode_ci แล้วคลิก Create
Database
จะถูกสร้างขึ้น
จากนั้นไปเปิดโฟลเดอร์ AppServ ในไดร์ฟ C:
เข้าโฟลเดอร์ www
ในโฟลเดอร์จะมีไฟล์
index.php อยู่ ให้ rename เพื่อป้องกันการเขียนทับ
เวลาเรา Copy ไฟล์มาจากโฟลเดอร์ Wordpress
wordpress
เวอร์ชั่นล่าสุด คือ wordpress 2.7.1 ไฟล์ที่ Download
มาจะเป็นไฟล์ .zip
Extract ไฟล์ zip จะได้โฟลเดอร์ wordpress
Extract ไฟล์ zip จะได้โฟลเดอร์ wordpress
เปิดโฟลเดอร์ wordpress
และ Copy ทุกไฟล์ในโฟลเดอร์ไปใส่ในโฟลเดอร์ C:\AppServ\www
ไฟล์ทุกไฟล์ย้ายมาที่โฟลเดอร์
www
ในโฟลเดอร์จะมีไฟล์ readme.html ให้อ่าน
หากต้องการความช่วยเหลือ ในภาพเป็นวิธีการ Install
ในโฟลเดอร์ www จะมีไฟล์ wp-config-sample.php
เปิดไฟล์ขึ้นมาแก้ไข(อาจจะเปิดด้วย Notepad)
ไฟล์ที่เปิดได้
แก้ไข 4 จุดคือ
- ใส่ชื่อ Database ที่เข้าไปสร้างไว้
- ใส่ username เป็น root
- ใส่ password ที่ตั้งไว้
- ใส่ hostname เป็น localhost(ตามที่ได้ตั้งไว้ตั้งแต่ต้น)
- ใส่ชื่อ Database ที่เข้าไปสร้างไว้
- ใส่ username เป็น root
- ใส่ password ที่ตั้งไว้
- ใส่ hostname เป็น localhost(ตามที่ได้ตั้งไว้ตั้งแต่ต้น)
กรอกข้อมูลต่างๆ ให้ครบ
จากนั้น
Save as ไฟล์เปลี่ยนชื่อเป็น wp-config.php
จากนั้นเปิดหน้าต่าง Browser พิมพ์ Localhost
แล้ว Enter จะเข้ามาหน้าดังภาพ
พิมพ์ชื่อ
Blog ตามแต่จะตั้ง(แก้ไขได้ในภายหลัง)
พิมพ์ Email Address (อะไรก็ได้ตามรูปแบบอีเมล) แค่ทดลองไม่ต้องใช่เมลจริงก็ได้
จากนั้นคลิก Install Wordpress
พิมพ์ Email Address (อะไรก็ได้ตามรูปแบบอีเมล) แค่ทดลองไม่ต้องใช่เมลจริงก็ได้
จากนั้นคลิก Install Wordpress
เมื่อลงเสร็จ(มันจะเร็วมาก)
จะขึ้นหน้า username password มา ให้ copy password ไว้ แล้วคลิก Log In
เมื่อเข้ามาหน้านี้ กรอก username และ password
ที่ copy มาแล้วคลิก Log in
จะเข้ามาในหน้าจัดการของ
wordpress(http://localhost/wp-admin) หรือเรียกง่ายๆ
ว่าหลังบ้าน
หากต้องการเปลี่ยน Password ให้คลิกที่ Admin แล้วเลื่อนมาด้านล่าง
หากต้องการเปลี่ยน Password ให้คลิกที่ Admin แล้วเลื่อนมาด้านล่าง
พิมพ์ Password ใหม่ที่ต้องการ คลิก Update (ครั้งหน้าเข้า wordpress ใช้ password ใหม่)
หากต้องการดูหน้าตาของ
Blog ที่สร้างคลิกที่ Visit site
หน้าตาของ
Blog ที่เราสร้าง
หากต้องการกลับไปหน้าจัดการคลิกที่ Site Admin ด้านข้าง(ขึ้นอยู่กับ
Treme ที่ใช้)
ตอนต่อไปจะเป็นวิธีการเปลี่ยน
theme ใน wordpress
ขอคุณจากแหล่งที่มา
http://bombik.com/node/81/
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น